วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4


บันทึกอนุทิน

ครั้งที่ 4

วันอังคาร ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557

เวลาเรียน 08.30-12.30 น.

-พูดเรื่องการทำ blogger

-ก่อนการเรียนอาจารย์จะใช่คำถาม และใช้เทคโนโลยี เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน

นำเสนอบทความ

(1) กิจกรรมสนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์

-ใช้เศษกระดาษทำจรวดเพื่อให้เด็กเรียนการโยนขึ้นและการตกลงพื้น

(2) ทำอย่างไรให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์

-อ่านหนังสือวิทยาศาสตร์

-ทำการทดลอง คือ อ่านหนังสือวิทยาศาสตร์การเรืองแสง

-การเรียนรู้จากการพับกระดาษเป็นรูปพีระมิด สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม

-เข้าร่วมพิพิธพันธ์วิทยาศาสตร์

(3) วิทย์ คณิตศาสตร์สำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย

-จัดการเรียนรู้อย่งเป็นธรรมชาติ (ครูควรสังเกต)

-ครูเข้าไปแทรกแซงและพยายามถามคำถาม

-จัดการเรียนรู้เชื่อมโยง เช่นการเรียนรู้ดนตรี

(4) เมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านดนตรี

-ส่งลูกบอลตามจังหวะเพลง

-กิจกรรมร้องรำทำเพลง

(5) การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย

-ควรเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

-การส่งเสริมทักษะความรับผิดชอบรอบตัวตามวัย

-การสำรวจ การปฎิบัติ การทดลอง

-การใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

ทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย

-วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาสืบค้นและจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการ การแสวงหา

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยวิธีการ กระบวนการ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแบบแผน 

มีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

(1) การเปลี่ยนแปลง

(2) ความแตกต่าง

(3) การปรับตัว

(4) การพึ่งพาอาศัยกัน

(5) ความสมดุล

**วิทยาศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงและทดลองต่อยอดตลอดเวลาจะมีการเปลีี่ยนแปลงทาง เวลา อายุ เป็นต้น

การศึกษาวิธีการทางวิทญาศาสตร์

(1) ขั้นกำหนดปัญหา เช่น ทำไมหน้าหนาวผมถึงฟูและแห้ง

(2) ขั้นตั้งสมมติฐาน เช่น อาจจะเป็นเพราะแชมพู อาการ

(3) ขั้นรวบรวมข้อมูล เช่น ทักษะการสังเกต ผลการทดลอง การบันทึกข้อมูล

(4) ขั้นลงข้อสรุป

เจตคติวิทยาศาสตร์

(1) ความอยากรู้อยากเห็น เป็นพฤติกรรมของเด็ก เป็นคุณลักษณะของเด็กและพัฒนาการ

(2) ความเพียรพยายาม

(3) ความมีเหตุผล

(4) ความซื่อสัตย์

(5) ความมีระเบียบและรอบคอบ

(6) ความใจกว้าง

ความสำคัญของวิทยาศาสตร์และประโยชน์

**ความสำคัญของวิทยาศาสตร์

-ตอบสนองตามความต้องการตามวัยของเด็ก

-พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

-เสริมสร้างประสบการณ์

**ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์

-พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน

-พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

-สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง

สรุปบทเรียน Mind map


บันทึกอนุทินครั้งที่ 3


บันทึกอนุทิน

ครั้งที่ 3

วันอังคาร ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557

เวลาเรียน 08.30-12.30 น.

-นำเสนอบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

(1) ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐม (วิทยาศาสตร์และการทดลอง)

-ของ ดร.วิทยา อุปกรณ์การทดลอง พู่กันกับน้ำส้มสายชู

(2) ภารกิจตามหาใบไม้ ให้เด็กนำใบไม้พิมพ์บนกระดาษ

-ใช้กระบวนการสังเคราะห์ การตั้งคำถาม สำรวจตรวจสอบ

(3) เรื่องไม่เล็กของเด็กชายขอบ

(4) การแยกเม็ดพืช

(5) การเป่าลูกโปร่ง

-คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 มีดังนี้

ธรรมชาติเด็กปฐมวัย 3-5 ปี

-ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำชม

-ช่วยตัวเองได้

-ชอบเล่นแบบคู่ขนาน

-พูดประโยชน์ยาวขึ้น

-ร้องเพลงง่ายๆ แสดงท่าทางเรียนแบบ

-อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว

ด้านร่างกาย

-เรื่องสุขภาพอนามัย

-การเคลื่อนไหว สมองกับอวัยวะต้องสัมพันธ์กัน

ด้านสติปัญญา

-การคิดเหตุผล เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

-การคิดสร้างสรรค์

ด้านอารมณ์

-การแสดงออกทางความรู้สึก

-การรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น

ด้านสังคม

-การดูแลตัวเอง

-การมีปฎิสัมพันธ์กับผู้อื่น




วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2


บันทึกอนุทิน

ครั้งที่ 2

วันอังคาร ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557

เวลาเรียน 08.30-12.30 น.

วันนี้อาจารย์ได้อธิบายธรรมชาติของเด็กปฐมวัย

เด็กปฐมวัย

-อาจารย์ขึ้นต้นด้วยเด็กปฐมวัย แล้วใช้คำถามว่าทำไมถึงต้องขึ้นด้วยเด็กปฐมวัย (ใช้คำถามปลายเปิด

เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น) 

-คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์ด้วย

-ภาษากับคณิตศาสตร์จะเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เรื่องต่างๆ

**เด็กปฐมวัย vs การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

-วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กๆ จริงหรือ

-ถ้าเด็กๆ เรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะยากเกินไปไหม

-ควรจะให้เด็กๆ อนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

วิทยาศาสตร์

-วิทยาศาสตร์ คือ ความหมายความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและ

ตัวตนของตนเอง

-ความพยายามเช่นนี้ติดตัวของมนุษย์มาตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็ก



บันทึกอนุทินครั้งที่ 1


บันทึกอนุทิน

ครั้งที่ 1

วันอังคาร ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2557

เวลาเรียน 08.30-12.30 น.



อาจารย์เเจกเเนวการสอนเเละอธิบายเนื้อหาของรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาตร์สำหรับเด็ก

ปฐมวัย

ข้อตกลงเเละกฎกติกาของห้อง

1.เเต่งกายเรียบร้อยเป็นไปในเเนวทางเดียวกัน
2.เข้าเรียนตรงต่อเวลา
3.มีมารยาทในการเรียน
4.พูดจาไพเราะ
5.มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่

ผลลัพธ์การเรียนรู้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1,มีความซื่อสัตย์ สุจริต เเละเสียสละ
2.มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองเเละส่วนรวม
3.เคารพสิทธิเเละรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

ด้านความรุ้ 

1.สามารถอธิบายหลักการ ความสำคัญ เเนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางวิทยาศาสตร์ได้
2.วิเคาระห์เเละเลือกจิตวิทยาการเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาสาสตร์สำหรับเด

ปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม

3.อธิบายสาระการเรียนรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้
4.วิเคราะห์และเลือกรูปแบบการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้
5.ออกแบบและเขียนแผนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้
6.วิเคราะห์ และเลือก สื่อ อุปกรณ์ ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้      ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อม ( มุมประสบการณ์ ) ได้อย่างเหมาะสม
7.อธิบายบทบาทของครูและออกแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองในการส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์

 ด้านทักษะทางปัญญา

1.คิดและวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
2.ประยุกต์ความรู้เพื่อนำใช้ในการออกแบบและวางแผนจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างสร้างสรรค์
3.สรุปองค์ความรู้จากปัญหาและความต้องการนำไปพัฒนาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้

 ด้านทักษะความสามารถระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

1.ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ และแก้ไข้เมื่อพบปัญหา
2.แสดงบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมทำงานได้อย่างเหมาะสม
3.รับผิดชอบในผลงานของตนเองและกลุ่ม

 ด้านทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

1.มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นในปัจจุบันเพื่อการศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้ประสบการณ์ในการเรียนวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้
2.สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อมานำเสนอได้อย่างเหมาะสม
3.สามารถใช้เทคโนโลยีสารานเทศเพื่อการสืบค้น การนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 ด้านการจัดการเรียนรุ้

1.วางแผน ออกแบบ ปฏิบัติการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรุ้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
2.เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง เช่น การศึกษากรณีตัวอย่างจากห้องเรียน การสักเกตการสอนแบบต่างๆการสังเกตพฤติกรรมผุ้เรียน การสัมภาษณ์หรือพุดคุยกับผู้มีประสบการณ์ การทำแผนการสอน การผลิตสื่อประกอบารสอนการทดลองสอนเเละการจัดเเหล่งประสบการณ์การเรียนรู้ให้เเก่เด็กปฐมวัย

การนำไปประยุกต์ใช้
นำประสบการณ์เเละข้อเสนอเเนะ ติชมจากอาจารย์ผู้สอนไปปรับใช้ในการเรียนรู้

ประเมินตนเอง

เเต่งกายเรียบร้อย
เข้าเรียนตรงเวลา

ประเมินเพื่อน

เพื่อนเเต่งกายไม่เหมือนกัน
บางคนเข้าเรียนสาย

ประเมินอาจารย์

อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา
ให้ข้อเสนอเเนะในการเรียนรายวิชานี้
ประสบการณ์เรียนรู้ที่ดีเเละการนำไปปรับใช้

ความรู้เพิ่มเติม
มคอ.มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษา